การจัดกิจกรรม
Moodle ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถใช้ในรายวิชาได้ดังต่อไปนี้c
กระดานเสวนา
เท่าที่ผ่านมา.. ส่วน กระดานเสวนา นี้เห็นจะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะการสนทนาแลกเปลี่ยน จะเกิดขึ้นในส่วนนี้ เมื่อท่านเพิ่มส่วน กระดานเสวนา เข้าใน รายวิชา ท่านจะต้องเลือกชนิดของ กระดานเสวนา ว่าจะให้ กระดานเสวนา นี้เป็น กระดานเสวนา แบบไหน จะเป็นแบบหัวข้อเดียว (single-topic discussion) แบบเปิด (free-for-all general forum) หรือ แบบหนึ่งหัวข้อสนทนาต่อหนึ่งสมาชิก (one-discussion-thread-per-user)
รายงานความก้าวหน้า
ส่วนรายงานความก้าวหน้า นี้เป็น รายการหนึ่งในรายงานความก้าวหน้ารวมของ รายวิชา โดยในแต่ละรายการ ท่านสามารถตั้งคำถามเปิดประเด็นนำให้กับนักเรียนและกำหนดช่วงเวลาเปิดให้เขียนบันทึก (ทำได้เฉพาะ รายวิชา ในรูปแบบรายสัปดาห์เท่านั้น) ท่านใช้โอกาสนี้ส่งเสริมให้นักเรียน ใช้ความคิดในการกรั่นกรองและวิเคราะห์ในการเขียน รายงานความก้าวหน้าท่านสามารถให้คะแนนและเขียน คำแนะนำสำหรับนักเรียนแต่ละคนในสัปดาห์หรือในหัวข้อนั้นๆ หลังจากนั้นระบบจะทำการ อีเมล์แจ้งผลให้นักเรียนทราบโดยอัตโนมัติ
แหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูล- คือส่วนเนื้อหาของ รายวิชา ของท่าน ซึ่งจะเป็น ไฟล์ ชนิดใดก็ได้ที่ท่าน อัพโหลด หรือ ลิงค์ ไป ท่านสามารถสร้างรายการอย่างง่ายๆได้ด้วยการพิมพ์ลงแบบฟอร์มโดยตรง
การบ้าน
การบ้าน - เป็นส่วนที่ท่านให้การบ้านแก่นักเรียน กำหนดวันส่งและเกรดสูงสุดที่สามารถได้รับ นักเรียนส่งงานโดย อัพโหลดไฟล์ การบ้านสู่เซิร์ฟเวอร์ระบบจะทำการบันทึกวันที่นักเรียน อัพโหลดไฟล์ ไว้เป็นหลักฐาน หลังจากนั้นระบบจะแสดงผลทั้งหมดในหน้าเดียวกันให้ท่านได้ตรวจงาน ให้คะแนนการบ้านที่นักเรียน อัพโหลด มา และบันทึกคำติชมที่ท่านอาจจะมีต่อการบ้านชิ้นนั้นๆ ครึ่งชั่วโมงหลังจากท่านตรวจงานชิ้นหนึ่งเสร็จโปรแกรม โปรแกรม จะ อีเมล์ นักเรียนเจ้าของงาน ชิ้นนั้นๆเพื่อแจ้งให้ทราบว่างานที่ส่งได้รับการตรวจแล้ว พร้อมที่จะให้นักเรียน log in กลับมาดูผลได้
แบบทดสอบ
ส่วนนี้เป็นส่วนที่ท่านสามารถทำแบบทดสอบแบบต่างๆ เช่น แบบปรนัย ถูกผิด หรือแบบอัตนัย แบบทดสอบที่ท่านทำขึ้นนี้จะถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลและสามารถนำมาใช้ใหม่ได้ต่อไป ไม่ว่าจะเป็นสำหรับ รายวิชาเดิมหรือใช้ในรายวิชาอื่นๆก็ได้ท่านสามารถตั้งให้นักเรียนสามารถแก้ไข คำตอบได้หลายครั้ง โดยการแก้ไขของนักเรียนแต่ละครั้งจะโดนบันทึกไว้ จากนั้นท่านสามารถเลือก ที่จะให้คำแนะนำหรือให้คำตอบที่ถูกแก่นักเรียน ส่วนแบบทดสอบนี้สามารถให้คะแนนได้ด้วย.
โพลล์
เป็นส่วนที่ให้ท่านตั้งคำถามแบบปรนัยให้นักเรียนตอบ โดยเมื่อนักเรียนทำการเลือกคำตอบเสร็จแล้ว โปรแกรมจะมีหน้ารายงานผลให้ท่านดูได้ ท่านสามารถใช้ส่วนตัวเลือกนี้ในการทำโพลล์สำรวจหยั่งเสียง ในหัวข้อต่างๆ ทำโพลล์หรือใช้ในการออกเสียงเลือกตั้ง ฯลฯ
แบบสอบถาม
ส่วนแบบสอบถามนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามสำหรับวัดระดับความรู้และความเข้าใจของนักเรียน โดยในเวอร์ชั่นนี้ของ โปรแกรม มีแบบสอบถามสองแบบให้เลือกใช้คือแบบ COLLES และ ATTLS ท่านสามารถใช้แบบสอบถามนี้ในตอนเริ่มเรียน เพื่อวัดพื้นฐานนักเรียนและอีกครั้งหลังเรียน เพื่อวัดความผลการเรียนการสอน
Labels
This is a not a true activity - it is a "dummy" activity that allows you to insert text and graphics among the other activities on the course page.
ส่วนนี้ไม่ใช่กิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง เป็นเพียง "กิจกรรมทดลอง" ให้แทรกข้อความและกราฟฟิค สู่กิจกรรมอื่นๆ บนหน้ารายวิชา
Media Player Activity Module
The Media Player Activity Module is comprehensive wizard for deploying Flash video as activities in Moodle courses. It allows users to set all of the parameters supported by Jeroen Wijering's FLV Player.
Media Player Activity Module Developed by Matt Bury - http://matbury.com/
FLV Player Developed By Jeroen Wijering - http://www.longtailvideo.com/
SCORM packages โปรแกรม SCORM
A SCORM package is a bundle of web content packaged in a way that follows the SCORM standard for learning objects.
SCORM เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่รวมเนื้อหาบนเว็บเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งเขียนให้ใช้งานได้ทันทีตามมาตรฐาน SCORM สำหรับการเรียนออนไลน์ These packages can include web pages, graphics, Javascript programs, Flash presentations and anything else that works in web browsers. The SCORM module allows you to easily upload any standard SCORM package and make it part of your course.
โปรแกรมเหล่านี้สามารถรวมเอาเว็บเพจ กราฟฟิค โปรแกรม Javascript พรีเซ็นเตชั่นที่สร้างจากโปรแกรม Flash และเนื้อหาอื่นๆ ที่ทำงานได้กับ web browser ต่างๆ โมดูล SCORM จะทำให้คุณอัพโหลดโปรแกรมมาตรฐานของ SCORM และใช้ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาที่คุณสอนได้ง่ายกว่าเดิม
thaicpd
This file contains the main description of the thaicpd module. Usually, it's used to explain the main features of the activity, with a natural language. Also, the overall process of the activity is detailed here with its pedagogical foundation.
From a developer perspective, this "help" directory will contain simple html files like this that you will be able to link from thaicpd code when any sort of explanation is necessary (it's easier to add those links automatically, both from the formslib stuff (see mod_form.php) and from everywhere else (see the helpbutton() function).
Also, don't forget to add one link to this help file from the thaicpd/help "index.html" file, it will allow Moodle to show all the existing help files related to the module when the complete list of available help files is requested.
Please, replace me with the real information about the thaicpd!
Wikis
ช่วยให้ผู้่แต่งสามารถรวบรวม โดยภาษา mark up ที่ใช้ผ่าน web browser.
"Wiki wiki" เป็นภาษาฮาวายหมายถึง "เร็วมาก" เพราะด้านหนึ่งของเทคโนโลยี wiki ที่ออกแบบมาคือเน้นเรื่องการสร้างและแก้ไขเอกสารได้อย่างรวดเร็วทันใจ ปกติเวลาสร้างหรือแก้ไขหน้าเว็บเพจจะไม่มีหน้าตัวอย่างให้เห็นก่อน จะต้องทำการ save ค่า ที่ทำการสร้างหรือแก้ไขไปก่อน และระบบจะเปิดให้ทุกคนเข้ามาทำงานได้ ระบบเปิดให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถมาทำงานร่วมกันได้ เพื่อเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหา และเวอร์ชั่นก่อนจะไม่ถูกลบไป และสามารถนำกลับมาใช้ได้อีก
โมดูลนี้นำมาจากErfurt Wiki.
กระดานเสวนา
กระดานเสวนานี้ถือเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด เนื่องจากเป็นที่ที่มีกิจกรรมเกิดขึ้นมากที่สุด การจัดโครงสร้างของกระดานเสวนาสามารถทำได้หลายแบบ สามารถที่จะให้เพื่อนมาให้คะแนนสำหรับการโพสต์ การตั้งกระทู้หรือการตอบกระทู้สามารถถูกจัดในหลายรูปแบบ รวมไปถึงสามารถแนบไฟล์ได้ และด้วยการสมัครเป็นสมาชิกของกระดานเสวนา สมาชิกก็จะได้รับสำเนาการตอบกระทู้หรือตั้งกระทู้ใหม่โดยทางอีเมล อาจารย์ผู้สอนสามารถเป็นผู้จัดการเรื่องการสมัครสมาชิกได้เช่นกันหากต้องการเช่นนั้น
การบ้าน
เป็นส่วนที่ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนทำ (เป็นเนื้อหาดิจิตอลในรูปแบบใดก็ได้) จากนั้น นักเรียนส่งชิ้นงานโดยการอัพโหลดไฟล์ขึ้นสู่เซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่างการบ้าน ได้แก่ เรียงความ งานโปรเจ็คท์ รายงาน และอื่นๆ ซึ่งส่วนนี้จะประมวลผลการให้คะแนนนักเรียนได้ด้วย
Lesson
A lesson delivers content in an interesting and flexible way. It consists of a number of pages. Each page normally ends with a question and a number of possible answers. Depending on the student's choice of answer they either progress to the next page or are taken back to a previous page. Navigation through the lesson can be straight forward or complex, depending largely on the structure of the material being presented.
บันทึกความก้าวหน้า
This module is a very important reflective activity. The teacher asks the student to reflect on a particular topic, and the student can edit and refine their answer over time. This answer is private and can only be seen by the teacher, who can offer feedback and a grade on each journal entry. It's usually a good idea to have about one Journal activity per week.
กิจกรรมบันทึกความก้าวหน้ามีความสำคัญมากในแง่การสะท้อนผลลัพธ์ที่ได้ ผู้สอนขอให้ผู้เรียนแสดงความเห็นในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง โดยผู้เรียนสามารถแก้ไขคำตอบโดยไม่กำหนดเวลา มีเพียงผู้สอนเท่านั้นที่สามารถมองเห็นคำตอบนั้นได้ ซึ่งผู้สอนจะได้เสนอความเห็นตอบกลับและให้คะแนนสำหรับบันทึกความก้าวหน้าแต่ละครั้ง ควรจัดกิจกรรมบันทึกความก้าวหน้าสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง
Quizzes
This module allows the teacher to design and set quiz tests, consisting of multiple choice, true-false, and short answer questions. These questions are kept in a categorised database, and can be re-used within courses and even between courses. Quizzes can allow multiple attempts. Each attempt is automatically marked, and the teacher can choose whether to give feedback or to show correct answers. This module includes grading facilities.
Surveys
The Survey module provides a number of verified survey instruments that have been found useful in assessing and stimulating learning in online environments. Teachers can use these to gather data from their students that will help them learn about their class and reflect on their own teaching.
โพลล์
A choice activity is very simple - the teacher asks a question and specifies a choice of multiple responses. It can be useful as a quick poll to stimulate thinking about a topic; to allow the class to vote on a direction for the course; or to gather research consent.
กิจกรรมสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) ทำได้ไม่ยาก เพียงผู้สอนตั้งคำถามและกำหนดตัวเลือกคำตอบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์กรณีใช้เป็นแบบสำรวจอย่างเร็วเพื่อกระตุ้น หรือระดมความคิดในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง ให้ชั้นเรียนลงคะแนนเสียงว่าต้องการให้รายวิชานั้นๆ เป็นอย่างไร หรือเพื่อรวบรวมความยินยอมเพื่อการวิจัย
Workshop
A Workshop is a peer assessment activity with a huge array of options. It allows participants to assess each other's projects, as well as exemplar projects, in a number of ways. It also coordinates the collection and distribution of these assessments in a variety of ways. The Workshop module is contributed by Ray Kingdon.
Chats
The Chat module allows participants to have a real-time synchronous discussion via the web. This is a useful way to get a different understanding of each other and the topic being discussed - the mode of using a chat room is quite different from the asynchronous forums. The Chat module contains a number of features for managing and reviewing chat discussions.
แหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูลคือเนื้อหา ข้อมูลที่ผู้สอนต้องการนำมาใช้ในการสอนรายวิชา ซึ่งอาจเป็นไฟล์ที่เตรียมไว้แล้วอัพโหลดสู่เซิร์ฟเวอร์ของรายวิชา หน้าข้อมูลต่างๆ ได้รับการแก้ไขโดยตรงบน Moodle หรือหน้าเว็บภายนอกที่ทำให้ส่วนหนึ่งของรายวิชาปรากฏขึ้น
อภิธานศัพท์
ผู้มีส่วนร่วมในรายวิชาหนึ่งๆ สามารถสร้างรายการคำศัพท์- คำอธิบายได้ เหมือนๆ พจนานุกรม
คำศัพท์หรือนิยามที่พิมพ์เข้าไป สามารถสืบค้นหรือ browse ได้หลายรูปแบบต่างๆ กัน
ผู้สอนสามารถส่งอภิธานศัพท์จากกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง (อภิธานศัพท์หลัก) ภายในรายวิชาเดียวกันได้
นอกจากนี้ ยังสามารถสร้างลิงก์อัตโนมัติให้กับคำศัพท์ - คำนิยามสำหรับใช้ในรายวิชาได้อีกด้วย
หน้าแรกของไฟล์ช่วยเหลือทั้งหมด
Show this help in language: English